งานวิจัยปี 2561
ลำดับที่ | ชื่อ-สกุล | ชื่องานวิจัย |
1 | ดร.แกล้วทนง สอนสังข์ | เนื้อหาย ลวดลายและวัสดุในงานพุทธประติมากรรมหน้าบัน กรณีศึกษา : วัดในเขตพื้นที่ชุมชนโบราณอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
2 | นางสาวจินดาพร แก้วลายทอง | การศึกษานิทานพื้นบ้านความเป็นมาของตำบลดอนสัก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
3 | ผศ.ชัญญา อุดมประมวล | พระบฏ วัดโพธาราม อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี : ศึกษาองค์ประกอบศิลป์ในพุทธประวัติตอน ทรงแก้ทิฏฐิมานะของพญามหาชมพูบดี รูปแบบสันนิษฐาน สู่แนวทางการอนุรักษ์ภาพจิตรกรรมไทยบนผืนผ้า |
4 | ดร.ทวัช บุญแสง | การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น : รายวิชากะปงศึกษา อ.กะปง จ.พังงา |
5 | นายธนุพล ฉันทกูล | การศึกษาวิเคราะห์รูปแบบทางศิลปกรรมกุฏิเรือนไทย : วัดไทร จ.สุราษฎร์ธานี |
6 | ผศ.ดร.นัฎจรี เจริญสุข | ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
7 | ผศ.ดร.บรรจง เจริญสุข | การพัฒนาตนเองตามหลักการทรงงาน ศาสตร์พระราชา ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
8 | ดร.บรรณรักษ์ คุ้มรักษา | ผลการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยใช้วิจัยเป็นฐานเพื่อพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครู |
9 | นางสาวพัชรินทร์ จันทร์ส่องแสง | การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชานวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยของนักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ที่เรียนด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ |
10 | นางพุทธชาด วูโอริ | การพัฒนาโปรแกรมฝึกพูดกับตนเองเชิงบวก เพื่อส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์และการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
11 | นางรุ่งทิพย์ แซ่แต้ | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎีคอนเนคติวิสต์ซึมผ่านเทคโนโลยีคลาวด์ เพื่อพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษาวิชาชีพครู |
12 | นางสาววัศรนันทน์ ชูทัพ | อัตลักษณ์ของสังคมพหุวัฒนธรรมชนบทไทยในวรรณกรรมเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว |
13 | นายสุทธิศิลป์ สุขสบาย | การบูรณาการรูปแบบแอสชัวร์ในการสอนแบบทีพีซีเค เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
14 | ดร.อัญชลี แสงอาวุธ | การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพครู เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
15 | ผศ.อัญชลีพร มั่นคง | การพัฒนาแอพพลิเคชั่นโมบายแบบแอคทีพเลิร์นนิ่ง วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |